
“จน” แปลว่า “มีน้อย” แต่ไม่ได้แปลว่า “มีความทุกข์”“ร ว ย” แปลว่า “มีมาก” แต่ไม่ได้แปลว่า “มีคว า มสุข”“พอเพียง” แปลว่า “มีพอ” ก็ไม่ได้แปลว่า “ทุกข์” หรือ “สุข”ทานบุฟเฟ่มื้อหรู รา ค าหลักพัน กินข้าวราดแกงข้างทาง จานละ 40 บาทเมื่อท า นลงไปแล้ว ก็จ บ แค่คำว่าอิ่ม เหมือนกัน
วัยรุ่น วัดคุณค่ากันจากการดูว่าใช้มือถือรุ่นไหนวัยทำงานวัดคุณค่ากันจากรถที่ขับราคาเท่าไร ไปท่องเที่ยวต่ายประเทศบ่อยแค่ไหน
วัยกลางคน วัดคุณค่ากันจากบ้านหรือคอ นโดที่อยู่ราคาแพ งแค่ไหน และ ส่งลูกเรียนที่ไหน ค่าเทอมเท่าไร
วัยใกล้ชรา วัดคุณค่ากันจากมีเวลาว่ า งในชีวิตวัยเกษียณแค่ไหน ยิ่งมีมากแสดงว่าคนนั้นรว ยมาก ไม่ต้องทำงานหนักๆ ใช้ชีวิตหลังวัยเกษียณอย่ างเดียว
วัยชรา ฐานะไม่ใช่ประเด็นแล้ว ขอแค่มีเงินพอในการใช้ชีวิตในแต่ละวัน แต่ ต้องการร่างกายยังสมบูรณ์ แข็งแรง เดินไหว ไม่มีโร ค ไม่ต้องกินย า และ ยังจำชื่อลูกหลานให้ได้ แบบนี้เรียกได้ว่า “ ร ว ย ยิ่งกว่า ร ว ย ” ในท้ายที่สุดแล้วทุกคนจะค้นพบว่าทรัพย์สินที่มีค่ามากที่สุดก็คือ “ตัวคุณเอง
ร่างกายของคุณ สุขภาพของคุณเอง “ครั้งนึงคุณอาจเคยใช้ “สุขภาพของคุณ” แบบเปลืองมากๆ พอมาถึงตอนปลายของชีวิตแล้ว คุณจะพบว่าคนที่ประ ส บความสำเร็จ ไม่ใช่คนที่มีเงินเยอะที่สุดแต่เป็นคนที่มี สุขภาพ และ เวลา เหลือมากพอที่จะใช้เงินที่หามาได้ชีวิตคุณ เปรียบเหมือนแก้วน้ำเปล่าๆๆ 1 ใบ
ครอบครัว เปรียบเหมือนเม็ดทรายที่ใส่จนเต็มแก้วลองเติมน้ำลงไปในแก้ว แล้วจะพบว่า มันยังเติมเต็มความรักให้กันได้อีกจงให้ความสำคัญกับครอบครัว มากกว่าทรัพย์สินเงินทอง ชื่อเสียง หรือ ความมั่งคั่งร่ำรวย เงินทองใช้หมดไป หาใหม่ได้ แต่ เวลาที่ผ่านไปในแต่ละวันถ้าไม่ได้ใช้อยู่กับครอบครัวหรือคนที่เรารัก เมื่อพวกเขาจากไป มันย้อนกลับคืนมาไม่ได้
“รถสี่คันในชีวิต”- รถเข็นเด็ก- รถจักรย าน- รถยนต์- รถเข็น ค น ป่ ว ย “ใบทั้งสี่ในชีวิต” -ใบสูติบั ต ร -ใบประกาศนียบั ต ร- ใบทะเบียนสมรส -ใ บ ม ร ณ ะ บั ต ร
“เตียงทั้งสี่ในชีวิต”- เตียงเด็ก- เตียงเดี่ยว- เตียงคู่- เตียง ค น ป่ ว ย “หนึ่งทางในชีวิต” -ทางที่ต้องเดินด้วยตนเอง “สองดีในชีวิตที่ควรมี” -สุขภาพดี -กำลังใจดี
“สามสหายในชีวิต” -คนที่กล้าให้ยืมเงิน -คนที่ยืมเงินแล้วคืนตามกำหนด -คนที่มาส่งคุณขึ้นเชิงตะกอน “สี่ทุกข์ในชีวิต” -ตัดใจไม่ได้ -สละไม่ได้ -ยอมแพ้ไม่ได้ -ปลงไม่ได้
“ห้าคติท่องไว้ให้ขึ้นใจ” -ต่อให้ย ากก็ต้องยืนหยัด -ต่อให้ดียังไงก็ต้องจาก -ต่อให้แย่ยังไงก็ต้องมั่นใจในตนเอง -ต่อให้มีมากมายก็ต้องประหยัด ต่อให้แล้งก็ต้องมีน้ำใจ
“หกทรัพย์ในชีวิต” -ร่างกาย -ความรู้ -ความฝัน -ความศรัทธา -ความมั่นใจ -ความกล้าหาญ
ขอบคุณที่มา :นุสนธิ์บุคส์